ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อิบรอฮีม(ศาสดา)"
ไม่มีคำอธิบายอย่างย่อ
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
บรรทัดที่ 17: | บรรทัดที่ 17: | ||
บรรดานักวิจัยส่วนมาก ถือว่า ศตวรรษที่ 20 ก่อนคริสต์ศักราช เป็นวันถือกำเนิดของศาสดาอิบรอฮีม (อ.) และบางคนได้กล่าวถึงตัวเลขที่แม่นยำยิ่งขึ้นของปี 1996 ปีก่อนคริสตกาล นักประวัติศาสตร์บางคนยังถือว่า วันแรกของเดือนซุลฮิจญะฮ์เป็นวันถือกำเนิดของเขา [3] | บรรดานักวิจัยส่วนมาก ถือว่า ศตวรรษที่ 20 ก่อนคริสต์ศักราช เป็นวันถือกำเนิดของศาสดาอิบรอฮีม (อ.) และบางคนได้กล่าวถึงตัวเลขที่แม่นยำยิ่งขึ้นของปี 1996 ปีก่อนคริสตกาล นักประวัติศาสตร์บางคนยังถือว่า วันแรกของเดือนซุลฮิจญะฮ์เป็นวันถือกำเนิดของเขา [3] | ||
ในแหล่งอ้างอิงของอิสลาม มีการกล่าวถึงเมืองหลายแห่งว่า เป็นบ้านเกิดของศาสดาอิบรอฮีม หนังสือประวัติศาสตร์ฏอบะรี เขียนว่า บางพื้นที่ของบาบิโลนหรือกูษาในอิรัก | ในแหล่งอ้างอิงของอิสลาม มีการกล่าวถึงเมืองหลายแห่งว่า เป็นบ้านเกิดของศาสดาอิบรอฮีม หนังสือประวัติศาสตร์ฏอบะรี เขียนว่า บางพื้นที่ของบาบิโลนหรือกูษาในอิรัก ซึ่งอยู่ในช่วงเวลาการปกครองของนัมรูด เป็นบ้านเกิดของศาสดาอิบรอฮีม ในขณะที่คนอื่นๆ บอกว่า บ้านเกิดของเขา คืออัลวัรกา (อูรุก) หรือฮัรรอน และกล่าวว่า หลังจากนั้น บิดาของเขาได้พาเขาไปที่บาบิโลนหรือกูษา [4] อิมามศอดิก (อ.)กล่าวในริวายะฮ์ว่า กูษา ถูกกล่าวว่าเป็นบ้านเกิดของศาสดาอิบรอฮีมและสถานที่ปกครองของนัมรูด [5] อิบนุ บะฏูเฏาะฮ์ นักเดินทางแห่งศตวรรษที่ 6 แห่งฮิจเราะฮ์ศักราช กล่าวถึง สถานที่ที่เรียกว่า บุรศ์ ระหว่างเมืองฮิลละฮ์และกรุงแบกแดดในอิรัก ว่าเป็นสถานที่เกิดของศาสดาอิบรอฮีม (6) | ||
ศาสดาอิบรอฮีม (อ.) มีอายุ 179 หรือ 200 ปี และเสียชีวิตในเมืองเฮบรอนในปาเลสไตน์ ซึ่งปัจจุบันเรียกว่า อัลเคาะลีล [7] | ศาสดาอิบรอฮีม (อ.) มีอายุ 179 หรือ 200 ปี และเสียชีวิตในเมืองเฮบรอนในปาเลสไตน์ ซึ่งปัจจุบันเรียกว่า อัลเคาะลีล [7] | ||
บรรทัดที่ 25: | บรรทัดที่ 25: | ||
เกี่ยวกับชื่อของบิดาของศาสดาอิบรอฮีม มีความแตกต่างกัน ในพันธสัญญาเดิม ชื่อนี้ถูกบันทึกว่า ตะเราะฮ์[8] ซึ่งในแหล่งอ้างอิงทางประวัติศาสตร์ เรียกว่า ตารุค [9] หรือ ตาเราะฮ์[10] ในอัลกุรอานกล่าวว่า: และครั้นเมื่ออิบรอฮีมมได้กล่าวกับบิดาของเขา อาซัร[11] บนพื้นฐานของโองการนี้ นักตัฟซีรชาวอะฮ์ลิซซุนนะฮ์บางคน ถือว่า อาซัร เป็นบิดาของศาสดาอิบรอฮีม [22] แต่บรรดานักตัฟซีรของชีอะฮ์ คำว่า อับ ในโองการนี้ไม่ได้หมายถึงบิดา [13] โดยพวกเขากล่าวว่า คำว่า อับ ในภาษาอาหรับ นอกจากให้ความหมายว่า บิดาแล้ว ยังให้ความหมายว่า ลุง ปู่ ผู้ปกครอง ฯลฯ ด้วยเช่นกัน อัลลามะฮ์ ฏอบาฏอบาอี กล่าวในหนังสืออัลมีซานว่า : อาซัรในโองการนี้ไม่ใช่บิดาที่แท้จริงของศาสดาอิบรอฮีม แต่เนื่องจากลักษณะและตำแหน่งบางประการที่มีอยู่ในตัวเขา เขาจึงถูกเรียกว่า เป็นบิดา ดังเช่นที่ เขานั้นเป็นอาของศาสดาอิบรอฮีม และจากมุมมองทางภาษาของคำว่า บิดา (อับ) ยังถูกเรียกว่า ปู่ ลุง และพ่อเลี้ยงอีกด้วย [ 14] ศาสดาอิบรอฮีม เรียก อาซัรว่าบิดา แต่เขาไม่ใช่บิดาที่แท้จริงของเขา เขาจึงออกห่าง [15] | เกี่ยวกับชื่อของบิดาของศาสดาอิบรอฮีม มีความแตกต่างกัน ในพันธสัญญาเดิม ชื่อนี้ถูกบันทึกว่า ตะเราะฮ์[8] ซึ่งในแหล่งอ้างอิงทางประวัติศาสตร์ เรียกว่า ตารุค [9] หรือ ตาเราะฮ์[10] ในอัลกุรอานกล่าวว่า: และครั้นเมื่ออิบรอฮีมมได้กล่าวกับบิดาของเขา อาซัร[11] บนพื้นฐานของโองการนี้ นักตัฟซีรชาวอะฮ์ลิซซุนนะฮ์บางคน ถือว่า อาซัร เป็นบิดาของศาสดาอิบรอฮีม [22] แต่บรรดานักตัฟซีรของชีอะฮ์ คำว่า อับ ในโองการนี้ไม่ได้หมายถึงบิดา [13] โดยพวกเขากล่าวว่า คำว่า อับ ในภาษาอาหรับ นอกจากให้ความหมายว่า บิดาแล้ว ยังให้ความหมายว่า ลุง ปู่ ผู้ปกครอง ฯลฯ ด้วยเช่นกัน อัลลามะฮ์ ฏอบาฏอบาอี กล่าวในหนังสืออัลมีซานว่า : อาซัรในโองการนี้ไม่ใช่บิดาที่แท้จริงของศาสดาอิบรอฮีม แต่เนื่องจากลักษณะและตำแหน่งบางประการที่มีอยู่ในตัวเขา เขาจึงถูกเรียกว่า เป็นบิดา ดังเช่นที่ เขานั้นเป็นอาของศาสดาอิบรอฮีม และจากมุมมองทางภาษาของคำว่า บิดา (อับ) ยังถูกเรียกว่า ปู่ ลุง และพ่อเลี้ยงอีกด้วย [ 14] ศาสดาอิบรอฮีม เรียก อาซัรว่าบิดา แต่เขาไม่ใช่บิดาที่แท้จริงของเขา เขาจึงออกห่าง [15] | ||
ตามรายงานจากแหล่งอ้างอิงทางประวัติศาสตร์ ในปีที่ศาสดาอิบรอฮีม (อ.) ถือกำเนิด | ตามรายงานจากแหล่งอ้างอิงทางประวัติศาสตร์ ในปีที่ศาสดาอิบรอฮีม (อ.) ถือกำเนิด นัมรูดไ้ด้ออกคำสั่งให้สังหารทารกทุกคนที่เกิดมา เพราะว่า นักโหราศาสตร์ทำนายว่า ในปีนี้จะมีเด็กทารกคนหนึ่ง ซึ่งจะต่อต้านศาสนาของนิมรูดและเหล่าสาวกของเขาและทำลายรูปปั้น ด้วยเหตุนี้เอง มารดาของศาสดาอิบรอฮีมด้วยความหวาดกลัวต่อพวกนิมรูด จึงนำเขาไปไว้ในถ้ำใกล้บ้านของนาง และพาเขาออกจากถ้ำ หลังจากที่ผ่านไปสิบห้าเดือนในช่วงกลางคืน[16] | ||
== เชิงอรรถ == | == เชิงอรรถ == |