ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อาคิเราะฮ์"
ไม่มีคำอธิบายอย่างย่อ
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
บรรทัดที่ 13: | บรรทัดที่ 13: | ||
== อาคิเราะฮ์ คือ อะไร == | == อาคิเราะฮ์ คือ อะไร == | ||
อาคิเราะฮ์ในเชิงภาษา หมายถึง การสิ้นสุด หลังจาก และอื่นๆ (1) และความหมายของมัน กล่าวคือ โลกอื่นหลังจากโลกนี้ (2) ในอัลกุรอานได้อธิบายถึงโลกหลังความตาย โดยมักใช้คำว่า อาคิเราะฮ์ (104 ครั้ง) และบางครั้งใช้คำว่า ดารุลอาคิเราะฮ์ (บ้านอีกหลังหนึ่ง) และเยามุลอาคิเราะฮ์ (วันอาคิเราะฮ์) (3) | อาคิเราะฮ์ในเชิงภาษา หมายถึง การสิ้นสุด หลังจาก และอื่นๆ (1) และความหมายของมัน กล่าวคือ โลกอื่นหลังจากโลกนี้ (2) ในอัลกุรอานได้อธิบายถึงโลกหลังความตาย โดยมักใช้คำว่า อาคิเราะฮ์ (104 ครั้ง) และบางครั้งใช้คำว่า ดารุลอาคิเราะฮ์ (บ้านอีกหลังหนึ่ง) และเยามุลอาคิเราะฮ์ (วันอาคิเราะฮ์) (3) | ||
== ความสำคัญของการมีความเชื่อในอาคิเราะฮ์ == | |||
การมีศรัทธายังอาคิเราะฮ์ ถือเป็นรากฐานของศาสนาและเป็นเงื่อนไขสำหรับการเข้ารับอิสลาม หมายถึง ผู้ใดก็ตามที่ไม่ยอมรับมัน ไม่ถือว่าเขานั้นเป็นมุสลิม (4) มุรตะฎอ มุเฏาะฮะรีย์ กล่าวว่า คำสอนที่สำคัญที่สุดของบรรดาศาสนทูต หลังจากหลักเตาฮีด ซึ่งพวกเขาได้เชิญชวนให้มีความศรัทธายังมัน กล่าวคือ การมีศรัทธายังโลกอาคิเราะฮ์ (5) | |||
มุฮัมมัดตะกี มิศบาฮ์ ยัซดีย์ กล่าวว่า โองการอัลกุรอานมากกว่าหนึ่งในสามของโองการทั้งหมดถูกกล่าวถึงอาคิเราะฮ์ (6) ในอัลกุรอาน ระบุว่า การมีความศรัทธาต่อโลกอาคิเราะฮ์ ถือเป็นรากฐานที่สำคัญในการเชิญชวนบรรดาศาสนทูตทั้งหมด (7) ตามโองการอัลกุรอาน ระบุอีกว่า การมีความศรัทธาในอาคิเราะฮ์ พร้อมทั้งความศรัทธาในอัลลอฮ์และศาสนทูตของพระองค์ เป็นหนึ่งในรากฐานของศาสนาอิสลาม ตามความเชื่อของสำนักคิดอิสลาม ถือว่า การมีความเชื่อในอาคิเราะฮ์ เป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับศาสนา และผู้ใดก็ตามที่ไม่มีความศรัทธาในเรื่องนี้ ไม่ถือว่า เขานั้นเป็นมุสลิม (9) | |||
ในหนังสือต่างๆทางด้านหลักศรัทธา ระบุว่า ชาวมุสลิมเรียกโลกอาคิเราะฮ์ว่า หลักการมะอาด (10) บัรซัค กิยามัต ศิรอฏ ฮิซาบ |