ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อาคิเราะฮ์"

ไม่มีคำอธิบายอย่างย่อ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:


'''อาคิเราะฮ์ (ปรโลก)''' หมายถึง โลกหลังความตาย ซึ่งเกิดขึ้นหลังจากโลกนี้ อาคิเราะฮ์ ตรงกันข้ามกับชีวิตในโลกนี้ การมีความเชื่อในอาคิเราะฮ์ ถือเป็นรากฐานของศาสนา และผู้ใดก็ตามที่ไม่มีความเชื่อในประเด็นนี้ ไม่ถือว่า เขาเป็นมุสลิม
'''อาคิเราะฮ์ (ปรโลก)''' หมายถึง โลกหลังความตาย ซึ่งเกิดขึ้นหลังจากโลกนี้ อาคิเราะฮ์ ตรงกันข้ามกับชีวิตในโลกนี้ การมีความเชื่อในอาคิเราะฮ์ ถือเป็นรากฐานของศาสนา และผู้ใดก็ตามที่ไม่มีความเชื่อในประเด็นนี้ ไม่ถือว่า เขาเป็น [[มุสลิม]]
[[อัลกุรอาน]] ได้ให้ความสำคัญในอาคิเราะฮ์เป็นอย่างมาก และการมีความเชื่อในอาคิเราะฮ์ ถือเป็นหลักการของการเชิญชวนของบรรดาศาสดาทั้งหมด  
อัลกุรอานได้ให้ความสำคัญในอาคิเราะฮ์เป็นอย่างมาก และการมีความเชื่อในอาคิเราะฮ์ ถือเป็นหลักการของการเชิญชวนของบรรดาศาสดาทั้งหมด  
กล่าวได้ว่า มีโองการอัลกุรอานมากกว่า 1 ส่วน 3 ได้กล่าวถึงอาคิเราะฮ์  
กล่าวได้ว่า มีโองการอัลกุรอานมากกว่า 1 ส่วน 3 ได้กล่าวถึงอาคิเราะฮ์  
 
ในหนังสือต่างๆที่เกี่ยวกับหลัก [[ศรัทธา]] ชาวมุสลิมเรียกอาคิเราะฮ์ว่า [[มะอาด]] ซึ่งได้มีการพิสูจน์ด้วยเหตุผลทางการรายงาน ([[นักลี]]) และด้านสติปัญญา ([[อักลี]])  
ในหนังสือต่างๆที่เกี่ยวกับหลักศรัทธา ชาวมุสลิมเรียกอาคิเราะฮ์ว่า มะอาด ซึ่งได้มีการพิสูจน์ด้วยเหตุผลทางการรายงาน (นักลี) และด้านสติปัญญา (อักลี)  
 
บรรดาผู้รู้ชาวมุสลิม ด้วยการอ้างอิงจากโองการอัลกุรอาน ถือว่า อาคิเราะฮ์ เป็นโลกที่มีความแตกต่างจากโลกนี้อย่างสิ้นเชิง และยังมีการกล่าวถึงคุณลักษณะของมันอีกด้วย  เช่น ความเป็นนิรันดร การแยกผู้ที่กระทำความดีออกจากผู้ที่กระทำความชั่ว การได้รับผลของการกระทำและการได้รับประโยชน์จากนิอ์มัตต่างๆตามความเหมาะสม
บรรดาผู้รู้ชาวมุสลิม ด้วยการอ้างอิงจากโองการอัลกุรอาน ถือว่า อาคิเราะฮ์ เป็นโลกที่มีความแตกต่างจากโลกนี้อย่างสิ้นเชิง และยังมีการกล่าวถึงคุณลักษณะของมันอีกด้วย  เช่น ความเป็นนิรันดร การแยกผู้ที่กระทำความดีออกจากผู้ที่กระทำความชั่ว การได้รับผลของการกระทำและการได้รับประโยชน์จากนิอ์มัตต่างๆตามความเหมาะสม


บรรทัดที่ 15: บรรทัดที่ 12:


== ความสำคัญของการมีความเชื่อในอาคิเราะฮ์ ==
== ความสำคัญของการมีความเชื่อในอาคิเราะฮ์ ==
การมีศรัทธายังอาคิเราะฮ์ ถือเป็นรากฐานของศาสนาและเป็นเงื่อนไขสำหรับการเข้ารับอิสลาม หมายถึง ผู้ใดก็ตามที่ไม่ยอมรับมัน ไม่ถือว่าเขานั้นเป็นมุสลิม (4) มุรตะฎอ มุเฏาะฮะรีย์ กล่าวว่า คำสอนที่สำคัญที่สุดของบรรดาศาสนทูต หลังจากหลักเตาฮีด ซึ่งพวกเขาได้เชิญชวนให้มีความศรัทธายังมัน กล่าวคือ การมีศรัทธายังโลกอาคิเราะฮ์ (5)  
การมีศรัทธายังอาคิเราะฮ์ ถือเป็น [[รากฐานของศาสนา]] และเป็นเงื่อนไขสำหรับการเข้ารับอิสลาม หมายถึง ผู้ใดก็ตามที่ไม่ยอมรับมัน ไม่ถือว่าเขานั้นเป็นมุสลิม (4) [[มุรตะฎอ มุเฏาะฮะรีย์]] กล่าวว่า คำสอนที่สำคัญที่สุดของ [[บรรดาศาสนทูต]] หลังจากหลัก [[เตาฮีด]] ซึ่งพวกเขาได้เชิญชวนให้มีความศรัทธายังมัน กล่าวคือ การมีศรัทธายังโลกอาคิเราะฮ์ (5)  


มุฮัมมัดตะกี มิศบาฮ์ ยัซดีย์ กล่าวว่า  โองการอัลกุรอานมากกว่าหนึ่งในสามของโองการทั้งหมดถูกกล่าวถึงอาคิเราะฮ์ (6) ในอัลกุรอาน ระบุว่า การมีความศรัทธาต่อโลกอาคิเราะฮ์ ถือเป็นรากฐานที่สำคัญในการเชิญชวนบรรดาศาสนทูตทั้งหมด (7) ตามโองการอัลกุรอาน ระบุอีกว่า การมีความศรัทธาในอาคิเราะฮ์ พร้อมทั้งความศรัทธาในอัลลอฮ์และศาสนทูตของพระองค์ เป็นหนึ่งในรากฐานของศาสนาอิสลาม ตามความเชื่อของสำนักคิดอิสลาม ถือว่า การมีความเชื่อในอาคิเราะฮ์ เป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับศาสนา และผู้ใดก็ตามที่ไม่มีความศรัทธาในเรื่องนี้ ไม่ถือว่า เขานั้นเป็นมุสลิม (9)
[[มุฮัมมัดตะกี มิศบาฮ์ ยัซดีย์]] กล่าวว่า  โองการ [[อัลกุรอาน]] มากกว่าหนึ่งในสามของโองการทั้งหมดถูกกล่าวถึงอาคิเราะฮ์ (6) ในอัลกุรอาน ระบุว่า การมีความศรัทธาต่อโลกอาคิเราะฮ์ ถือเป็นรากฐานที่สำคัญในการเชิญชวนบรรดาศาสนทูตทั้งหมด (7) ตามโองการอัลกุรอาน ระบุอีกว่า การมีความศรัทธาในอาคิเราะฮ์ พร้อมทั้งความศรัทธาใน [[อัลลอฮ์]] และ [[ศาสนทูตของพระองค์]] เป็นหนึ่งใน [[รากฐานของศาสนาอิสลาม]] ตามความเชื่อของสำนักคิดอิสลาม ถือว่า การมีความเชื่อในอาคิเราะฮ์ เป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับศาสนา และผู้ใดก็ตามที่ไม่มีความศรัทธาในเรื่องนี้ ไม่ถือว่า เขานั้นเป็นมุสลิม (9)


ในหนังสือต่างๆทางด้านหลักศรัทธา ระบุว่า ชาวมุสลิมเรียกโลกอาคิเราะฮ์ว่า หลักการมะอาด (10) บัรซัค กิยามัต ศิรอฏ ฮิซาบ
ในหนังสือต่างๆทางด้านหลักศรัทธา ระบุว่า ชาวมุสลิมเรียกโลกอาคิเราะฮ์ว่า [[หลักการมะอาด]] (10) [[บัรซัค]] [[กิยามัต]] [[ศิรอฏ]] [[ฮิซาบ]]
confirmed
107

การแก้ไข