ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อิบรอฮีม(ศาสดา)"

ไม่มีคำอธิบายอย่างย่อ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:


'''ศาสดาอิบรอฮีม''' (ภาษาอาหรับ: (ع) النبي إبراهيم) (อับราฮัม)หรือเป็นที่รู้จักกันในนาม '''อิบรอฮีม เคาะลีลุลลอฮ์'''  เป็นศาสดาองค์ที่สองใน[[บรรดาศาสดาอูลุลอัซม์]]
[[ไฟล์:مینیاتور پرتاب کردن ابراهیم(ع) در آتش.jpg|thumb]]
'''ศาสดาอิบรอฮีม''' (ภาษาอาหรับ: {{Arabic|النبي إبراهيم عليه السلام}}) (อับราฮัม)หรือเป็นที่รู้จักกันในนาม '''อิบรอฮีม เคาะลีลุลลอฮ์'''  เป็นศาสดาองค์ที่สองใน[[บรรดาศาสดาอูลุลอัซม์]]


ศาสดาอิบรอฮีม (อ.) ถูกแต่งตั้งเป็นศาสนทูตใน เมโสโปเตเมีย และ [[นัมรูด]] เป็นผู้ปกครองในยุคสมัยนั้น ศาสดาอิบรอฮีม  (อ.) ได้เชิญชวนประชาชนในภูมิภาคนั้นให้ศรัทธาในหลักเตาฮีด(ความเป็นเอกะของพระผู้เป็นเจ้า) ซึ่งมีเพียงไม่กี่คนที่ตอบรับคำเชิญชวนของเขา และเนื่องจากเขาสิ้นหวังจากความศรัทธาของพวกเขา เขาจึงอพยพไปยัง[[ปาเลสไตน์]]
ศาสดาอิบรอฮีม (อ.) ถูกแต่งตั้งเป็นศาสนทูตใน เมโสโปเตเมีย และ [[นัมรูด]] เป็นผู้ปกครองในยุคสมัยนั้น ศาสดาอิบรอฮีม  (อ.) ได้เชิญชวนประชาชนในภูมิภาคนั้นให้ศรัทธาในหลักเตาฮีด(ความเป็นเอกะของพระผู้เป็นเจ้า) ซึ่งมีเพียงไม่กี่คนที่ตอบรับคำเชิญชวนของเขา และเนื่องจากเขาสิ้นหวังจากความศรัทธาของพวกเขา เขาจึงอพยพไปยัง[[ปาเลสไตน์]]
บรรทัดที่ 22: บรรทัดที่ 23:


'''บิดาของศาสดาอิบรอฮีม'''
'''บิดาของศาสดาอิบรอฮีม'''
 
[[ไฟล์:مزار حضرت ابراهیم - فلسطین.jpg|thumb]]
เกี่ยวกับชื่อของบิดาของศาสดาอิบรอฮีม มีความแตกต่างกัน ในพันธสัญญาเดิม ชื่อนี้ถูกบันทึกว่า ตะเราะฮ์[8] ซึ่งในแหล่งอ้างอิงทางประวัติศาสตร์ เรียกว่า ตารุค [9] หรือ ตาเราะฮ์[10] ในอัลกุรอานกล่าวว่า: และครั้นเมื่ออิบรอฮีมมได้กล่าวกับบิดาของเขา อาซัร[11] บนพื้นฐานของโองการนี้ นักตัฟซีรชาวอะฮ์ลิซซุนนะฮ์บางคน ถือว่า อาซัร ‎เป็นบิดาของศาสดาอิบรอฮีม [22] แต่บรรดานักตัฟซีรของชีอะฮ์ คำว่า อับ ในโองการนี้ไม่ได้หมายถึงบิดา [13] โดยพวกเขากล่าวว่า คำว่า อับ  ในภาษาอาหรับ นอกจากให้ความหมายว่า บิดาแล้ว ยังให้ความหมายว่า ลุง ปู่ ผู้ปกครอง ‎ฯลฯ ด้วยเช่นกัน อัลลามะฮ์ ฏอบาฏอบาอี กล่าวในหนังสืออัลมีซานว่า : อาซัรในโองการนี้ไม่ใช่บิดาที่แท้จริงของศาสดาอิบรอฮีม แต่เนื่องจากลักษณะและตำแหน่งบางประการที่มีอยู่ในตัวเขา เขาจึงถูกเรียกว่า เป็นบิดา ดังเช่นที่ ‎เขานั้นเป็นอาของศาสดาอิบรอฮีม และจากมุมมองทางภาษาของคำว่า บิดา (อับ) ยังถูกเรียกว่า ปู่ ลุง และพ่อเลี้ยงอีกด้วย [ 14] ศาสดาอิบรอฮีม เรียก อาซัรว่าบิดา แต่เขาไม่ใช่บิดาที่แท้จริงของเขา เขาจึงออกห่าง [15]‎
เกี่ยวกับชื่อของบิดาของศาสดาอิบรอฮีม มีความแตกต่างกัน ในพันธสัญญาเดิม ชื่อนี้ถูกบันทึกว่า ตะเราะฮ์[8] ซึ่งในแหล่งอ้างอิงทางประวัติศาสตร์ เรียกว่า ตารุค [9] หรือ ตาเราะฮ์[10] ในอัลกุรอานกล่าวว่า: และครั้นเมื่ออิบรอฮีมมได้กล่าวกับบิดาของเขา อาซัร[11] บนพื้นฐานของโองการนี้ นักตัฟซีรชาวอะฮ์ลิซซุนนะฮ์บางคน ถือว่า อาซัร ‎เป็นบิดาของศาสดาอิบรอฮีม [22] แต่บรรดานักตัฟซีรของชีอะฮ์ คำว่า อับ ในโองการนี้ไม่ได้หมายถึงบิดา [13] โดยพวกเขากล่าวว่า คำว่า อับ  ในภาษาอาหรับ นอกจากให้ความหมายว่า บิดาแล้ว ยังให้ความหมายว่า ลุง ปู่ ผู้ปกครอง ‎ฯลฯ ด้วยเช่นกัน อัลลามะฮ์ ฏอบาฏอบาอี กล่าวในหนังสืออัลมีซานว่า : อาซัรในโองการนี้ไม่ใช่บิดาที่แท้จริงของศาสดาอิบรอฮีม แต่เนื่องจากลักษณะและตำแหน่งบางประการที่มีอยู่ในตัวเขา เขาจึงถูกเรียกว่า เป็นบิดา ดังเช่นที่ ‎เขานั้นเป็นอาของศาสดาอิบรอฮีม และจากมุมมองทางภาษาของคำว่า บิดา (อับ) ยังถูกเรียกว่า ปู่ ลุง และพ่อเลี้ยงอีกด้วย [ 14] ศาสดาอิบรอฮีม เรียก อาซัรว่าบิดา แต่เขาไม่ใช่บิดาที่แท้จริงของเขา เขาจึงออกห่าง [15]‎


บรรทัดที่ 54: บรรทัดที่ 55:
ตามโองการอัลกุรอาน ระบุว่า การทำให้ไฟมีความเย็นและการคืนชีพของนกทั้งสี่ตัว ถือเป็นปาฏิหาริย์ของศาสดาอิบรอฮีม (อ.)‎
ตามโองการอัลกุรอาน ระบุว่า การทำให้ไฟมีความเย็นและการคืนชีพของนกทั้งสี่ตัว ถือเป็นปาฏิหาริย์ของศาสดาอิบรอฮีม (อ.)‎


การทำให้ไฟมีความเย็น ตามโองการที่ 57 จนถึง 70 จากซูเราะฮ์อัลอัมบิยาอ์ ระบุว่า ศาสดาอิบรอฮีมได้ทำลายรูปปั้น ‎หลังจากที่เขาเห็นว่า กลุ่มผู้คนของเขาไม่ได้หยุดในการบูชารูปปั้น และถือว่า การกระทำนี้เป็นของรูปปั้นตัวใหญ่ ‎และกล่าวว่า หากรูปปั้นนั้นพูดได้ก็จงถามมัน เหล่าพวกที่เคารพรูปปั้นก็หยุดในการใช้เหตุผลของเขา แต่ก็ไม่ได้หยุดความเชื่อ พวกเขาจึงจับตัวของอิบรอฮีมโยนลงไปในกองไฟ เพราะเขาได้ทำลายรูปปั้นของพวกเขา แต่ไฟก็ดับลงตามพระบัญชาของพระผู้เป็นเจ้า [40]‎
* การทำให้ไฟมีความเย็น: ตามโองการที่ 57 จนถึง 70 จากซูเราะฮ์อัลอัมบิยาอ์ ระบุว่า ศาสดาอิบรอฮีมได้ทำลายรูปปั้น ‎หลังจากที่เขาเห็นว่า กลุ่มผู้คนของเขาไม่ได้หยุดในการบูชารูปปั้น และถือว่า การกระทำนี้เป็นของรูปปั้นตัวใหญ่ ‎และกล่าวว่า หากรูปปั้นนั้นพูดได้ก็จงถามมัน เหล่าพวกที่เคารพรูปปั้นก็หยุดในการใช้เหตุผลของเขา แต่ก็ไม่ได้หยุดความเชื่อ พวกเขาจึงจับตัวของอิบรอฮีมโยนลงไปในกองไฟ เพราะเขาได้ทำลายรูปปั้นของพวกเขา แต่ไฟก็ดับลงตามพระบัญชาของพระผู้เป็นเจ้า [40]‎


‎การฟื้นคืนชีพของนกสี่ตัว: ตามโองการที่ 260 จากซูเราะฮ์อัลบะเกาะเราะฮ์ ระบุว่า เพื่อตอบสนองต่อคำร้องขอของศาสดาอิบราฮีมที่ต้องการเห็นสิ่งที่เสียชีวิตกลับมามีชีวิตอีกครั้ง พระผู้เป็นเจ้าจึงทรงสั่งให้เขาเชือดนกทั้งสี่ตัวและผสมพวกมันเข้าด้วยกันและวางไว้บนภูเขาหลายลูก พระองค์ทรงกระทำการงานนี้แล้ว จึงทรงเรียกนก ทั้งหมดและทำให้พวกมันมีชีวิตขึ้นมาและกลับไปหายังพระองค์
‎* การฟื้นคืนชีพของนกสี่ตัว: ตามโองการที่ 260 จากซูเราะฮ์อัลบะเกาะเราะฮ์ ระบุว่า เพื่อตอบสนองต่อคำร้องขอของศาสดาอิบราฮีมที่ต้องการเห็นสิ่งที่เสียชีวิตกลับมามีชีวิตอีกครั้ง พระผู้เป็นเจ้าจึงทรงสั่งให้เขาเชือดนกทั้งสี่ตัวและผสมพวกมันเข้าด้วยกันและวางไว้บนภูเขาหลายลูก พระองค์ทรงกระทำการงานนี้แล้ว จึงทรงเรียกนก ทั้งหมดและทำให้พวกมันมีชีวิตขึ้นมาและกลับไปหายังพระองค์


'''การอพยพ'''
'''การอพยพ'''
confirmed, Moderators, ผู้ดูแลระบบ, templateeditor
172

การแก้ไข