ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อิบรอฮีม(ศาสดา)"

ไม่มีคำอธิบายอย่างย่อ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:


'''ศาสดาอิบรอฮีม''' (ภาษาอาหรับ:النبي إبراهيم) หรือเป็นที่รู้จักกันในนาม '''อิบรอฮีม เคาะลีลุลลอฮ์'''  เป็นศาสดาคนที่สองใน[[บรรดาศาสดาอูลุลอัซม์]]
'''ศาสดาอิบรอฮีม''' (ภาษาอาหรับ: (ع) النبي إبراهيم) (อับราฮัม)หรือเป็นที่รู้จักกันในนาม '''อิบรอฮีม เคาะลีลุลลอฮ์'''  เป็นศาสดาองค์ที่สองใน[[บรรดาศาสดาอูลุลอัซม์]]


ศาสดาอิบรอฮีม ถูกแต่งตั้งเป็นศาสนทูตในเมโสโปเตเมีย และ [[นิมรูด]] เป็นผู้ปกครองในยุคสมัยนั้น ศาสดาอิบรอฮีมได้เชิญชวนประชาชนในภูมิภาคนั้นให้ศรัทธาในหลักเตาฮีด(ความเป็นเอกะ) ซึ่งมีเพียงไม่กี่คนที่ตอบรับคำเชิญชวนของเขา และเนื่องจากเขาสิ้นหวังจากความศรัทธาของพวกเขา เขาจึงอพยพไปยัง[[ปาเลสไตน์]]
ศาสดาอิบรอฮีม (อ.) ถูกแต่งตั้งเป็นศาสนทูตใน เมโสโปเตเมีย และ [[นัมรูด]] เป็นผู้ปกครองในยุคสมัยนั้น ศาสดาอิบรอฮีม  (อ.) ได้เชิญชวนประชาชนในภูมิภาคนั้นให้ศรัทธาในหลักเตาฮีด(ความเป็นเอกะของพระผู้เป็นเจ้า) ซึ่งมีเพียงไม่กี่คนที่ตอบรับคำเชิญชวนของเขา และเนื่องจากเขาสิ้นหวังจากความศรัทธาของพวกเขา เขาจึงอพยพไปยัง[[ปาเลสไตน์]]


ตาม [[โองการ]] [[อัลกุรอาน]] กลุ่มชนที่บูชาเจว็ด ได้จับศาสดาอิบรอฮีมโยนเข้ากองไฟ เนื่องจากเขาได้ทำลายรูปปั้นเจว็ดของพวกเขา แต่ด้วยพระบัญชาของพระเจ้าทรงทำให้ไฟเย็นลงและอิบรอฮีมได้ออกจากมันได้อย่างปลอดภัย
ตาม [[โองการ]] [[อัลกุรอาน]] กลุ่มชนที่บูชาเจว็ด ได้จับตัวศาสดาอิบรอฮีม  (อ.) โยนเข้าไปในกองไฟ เนื่องจากเขาได้ทำลายรูปปั้นเจว็ดของพวกเขา แต่ด้วยพระบัญชาของพระเจ้าทรงทำให้ไฟนั้นเย็นลงและศาสดาอิบรอฮีม  (อ.) ได้ออกจากมันอย่างปลอดภัย


[[อิสมาอีล]] และ [[อิสฮาก]] เป็นบุตรทั้งสองของศาสดาอิบรอฮีม และเป็นผู้สืบทอดของเขา เชื้อสายของ [[บะนีอิสรออีล]] ซึ่งมี [[บรรดาศาสดา]] จำนวนมากมาจากเผ่าพันธุ์นี้ และนอกจากนี้ [[ท่านหญิงมัรยัม]] มารดาของ [[ศาสดาอีซา]] ก็เป็นผู้สืบเชื้อสายมาจากศาสดาอิสฮาก จนถึงศาสดาอิบรอฮีม และศาสดาของ [[อิสลาม]] ก็เป็นผู้ที่สืบเชื้อสายมาจากศาสดาอิสมาอีล บุตรชายอีกคนหนึ่งของศาสดาอิบรอฮีม
[[อิสมาอีล]] และ [[อิสฮาก]] เป็นบุตรทั้งสองของศาสดาอิบรอฮีม (อ.) และเป็นผู้สืบทอดของเขา เชื้อสายของ [[บะนีอิสรออีล]] ซึ่งมี [[บรรดาศาสดา]] จำนวนมากมาจากเผ่าพันธุ์นี้ และนอกจากนี้ [[ท่านหญิงมัรยัม]] มารดาของ [[ศาสดาอีซา]] ก็เป็นผู้สืบเชื้อสายที่มาจากศาสดาอิสฮาก จนถึงศาสดาอิบรอฮีม และศาสดาของ [[อิสลาม]] ก็เป็นผู้ที่สืบเชื้อสายที่มาจากศาสดาอิสมาอีล บุตรชายอีกคนหนึ่งของศาสดาอิบรอฮีม


อัลกุรอาน ได้กล่าวว่า ศาสดาอิบรอฮีมเป็นผู้สร้างวิหาร [[กะอ์บะฮ์|อัลกะอ์บะฮ์]] และเขายังเชิญชวนประชาชนให้ประกอบพิธีฮัจญ์ ศาสดาอิบรอฮีม ถูกเรียกว่า เคาะลีลุลลอฮ์ (มิตรของพระเจ้า)  
อัลกุรอาน ได้กล่าวว่า ศาสดาอิบรอฮีม  (อ.)เป็นผู้สร้างวิหาร [[กะอ์บะฮ์|อัลกะอ์บะฮ์]] และเขายังเชิญชวนประชาชนให้ประกอบพิธีฮัจญ์ ศาสดาอิบรอฮีม จึงถูกเรียกว่า เคาะลีลุลลอฮ์ (มิตรของพระเจ้า)  


ตามโองการอัลกุรอาน ระบุว่า หลังจากที่ศาสดสอิบรอฮีมได้ผ่านการทดสอบอันยิ่งใหญ่ด้วยการเชือดบุตรชายของเขาตามพระบัญชาของพระเจ้า เขาก็ได้รับตำแหน่งอิมามะฮ์ หลังจากที่ก่อนหน้านี้ เขานั้นเป็นศาสนทูตของพระองค์
ตามโองการอัลกุรอาน ระบุว่า หลังจากที่ศาสดาอิบรอฮีมได้ผ่านการทดสอบอันยิ่งใหญ่ด้วยการเชือดบุตรชายของเขาตามพระบัญชาของพระเจ้า เขาก็ได้รับตำแหน่งอิมามะฮ์(ผู้นำ) หลังจากที่ก่อนหน้านี้ เขานั้นเป็นศาสนทูตของพระองค์


== ชีวประวัติ ==
== ชีวประวัติ ==
‎'''การถือกำเนิดและการเสียชีวิต'''
‎'''การถือกำเนิดและการเสียชีวิต'''


บรรดานักวิจัยส่วนมาก ถือว่า ศตวรรษที่ 20 ก่อนคริสต์ศักราช เป็นวันถือกำเนิดของศาสดาอิบรอฮีม (อ.) และบางคนได้กล่าวถึงตัวเลขที่แม่นยำยิ่งขึ้นของปี 1996 ปีก่อนคริสตกาล นักประวัติศาสตร์บางคนยังถือว่า วันแรกของเดือนซุลฮิจญะฮ์เป็นวันถือกำเนิดของเขา [3]‎
บรรดานักวิจัยประวัติศาสตร์ส่วนมาก ถือว่า ศตวรรษที่ 20 ก่อนคริสต์ศักราช เป็นปีแห่งการถือกำเนิดของศาสดาอิบรอฮีม (อ.) และบางคนได้กล่าวถึงตัวเลขที่แม่นยำยิ่งขึ้นของปี 1996 ปีก่อนคริสตกาล นักประวัติศาสตร์บางคนยังถือว่า วันแรกของเดือนซุลฮิจญะฮ์ เป็นวันถือกำเนิดของเขา [3]‎


ในแหล่งอ้างอิงของอิสลาม มีการกล่าวถึงเมืองหลายแห่งว่า เป็นบ้านเกิดของศาสดาอิบรอฮีม หนังสือประวัติศาสตร์ฏอบะรี เขียนว่า บางพื้นที่ของบาบิโลนหรือกูษาในอิรัก ซึ่งอยู่ในช่วงเวลาการปกครองของนัมรูด ‎เป็นบ้านเกิดของศาสดาอิบรอฮีม ในขณะที่คนอื่นๆ บอกว่า บ้านเกิดของเขา คืออัลวัรกา (อูรุก) หรือฮัรรอน และกล่าวว่า หลังจากนั้น บิดาของเขาได้พาเขาไปที่บาบิโลนหรือกูษา [4] อิมามศอดิก (อ.)กล่าวในริวายะฮ์ว่า กูษา ถูกกล่าวว่าเป็นบ้านเกิดของศาสดาอิบรอฮีมและสถานที่ปกครองของนัมรูด [5] อิบนุ บะฏูเฏาะฮ์ นักเดินทางแห่งศตวรรษที่ 6 แห่งฮิจเราะฮ์ศักราช กล่าวถึง สถานที่ที่เรียกว่า บุรศ์ ระหว่างเมืองฮิลละฮ์และกรุงแบกแดดในอิรัก ว่าเป็นสถานที่เกิดของศาสดาอิบรอฮีม (6)‎
ตามแหล่งอ้างอิงของอิสลาม มีการกล่าวถึงเมืองหลายแห่งว่า เป็นบ้านเกิดของศาสดาอิบรอฮีม ในหนังสือประวัติศาสตร์เฏาะบะรี เขียนว่า บางพื้นที่ของบาบิโลนหรือกูษาในอิรัก ซึ่งอยู่ในช่วงเวลาการปกครองของนัมรูด ‎ถือเป็นบ้านเกิดของศาสดาอิบรอฮีม ในขณะที่บุคคลอื่น กล่าวว่า บ้านเกิดของเขา คือ อัลวัรกา (อูรุก) หรือฮัรรอน และกล่าวอีกว่า หลังจากนั้น บิดาของเขาได้พาเขาไปยังบาบิโลนหรือกูษา [4] อิมามศอดิก (อ.)กล่าวในริวายะฮ์ว่า กูษา ถูกเรียกว่า เป็นบ้านเกิดของศาสดาอิบรอฮีมและสถานที่ปกครองของนัมรูด [5] อิบนุ บะฏูเฏาะฮ์ นักเดินทางแห่งศตวรรษที่ 6 แห่งฮิจเราะฮ์ศักราช ได้กล่าวถึง สถานที่ซึ่งเรียกว่า บุรศ์ อยู่ระหว่างเมืองฮิลละฮ์และกรุงแบกแดดในอิรักว่า เป็นสถานที่ถือกำเนิดของศาสดาอิบรอฮีม (อ.) (6)‎


ศาสดาอิบรอฮีม (อ.) มีอายุ 179 หรือ 200 ปี และเสียชีวิตในเมืองเฮบรอนในปาเลสไตน์ ซึ่งปัจจุบันเรียกว่า อัลเคาะลีล [7]‎
ศาสดาอิบรอฮีม (อ.) มีอายุ 179 หรือ 200 ปี และเสียชีวิตในเมืองเฮบรอนในปาเลสไตน์ ซึ่งปัจจุบันเรียกว่า อัลเคาะลีล [7]‎
confirmed
838

การแก้ไข