ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อิบรอฮีม(ศาสดา)"
ไม่มีคำอธิบายอย่างย่อ
(สร้างหน้าด้วย " '''ศาสดาอิบรอฮีม''' หรือเป็นที่รู้จักกันในนาม อิบรอฮีม เคาะลีลุลลอฮ์ เป็นศาสดาคนที่สองในบรรดาศาสดาอูลุลอัซม์ อิบรอฮีม ถูกแต่งตั้งเป็นศาสนทูตในเมโสโปเตเมีย และน...") |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
บรรทัดที่ 1: | บรรทัดที่ 1: | ||
'''ศาสดาอิบรอฮีม''' หรือเป็นที่รู้จักกันในนาม อิบรอฮีม เคาะลีลุลลอฮ์ | '''ศาสดาอิบรอฮีม''' หรือเป็นที่รู้จักกันในนาม '''อิบรอฮีม เคาะลีลุลลอฮ์''' เป็นศาสดาคนที่สองใน[[บรรดาศาสดาอูลุลอัซม์]] | ||
อิบรอฮีม ถูกแต่งตั้งเป็นศาสนทูตในเมโสโปเตเมีย | อิบรอฮีม ถูกแต่งตั้งเป็นศาสนทูตในเมโสโปเตเมีย และ [[นิมรูด]] เป็นผู้ปกครองในยุคสมัยนั้น อิบรอฮีมได้เชิญชวนประชาชนในภูมิภาคนั้นให้ศรัทธาในหลักเตาฮีด ซึ่งมีเพียงไม่กี่คนที่ตอบรับคำเชิญชวนของเขา และเนื่องจากเขาสิ้นหวังจากความศรัทธาของพวกเขา เขาจึงอพยพไปยัง[[ปาเลสไตน์]] | ||
ตาม [[โองการ]] [[อัลกุรอาน]] กลุ่มชนที่บูชาเจว็ด ได้จับอิบรอฮีมโยนเข้ากองไฟ เนื่องจากเขาได้ทำลายรูปปั้นเจว็ดของพวกเขา แต่ด้วยพระบัญชาของพระเจ้าทรงทำให้ไฟเย็นลงและอิบรอฮีมได้ออกจากมันได้อย่างปลอดภัย | |||
[[อิสมาอีล]] และ [[อิสฮาก]] เป็นบุตรทั้งสองของอิบรอฮีม และเป็นผู้สืบทอดของเขา เชื้อสายของ [[บะนีอิสราอีล]] ซึ่งมี [[บรรดาศาสดา]] จำนวนมากมาจากเผ่าพันธุ์นี้ และนอกจากนี้ [[ท่านหญิงมัรยัม]] มารดาของ [[ศาสดาอีซา]] ก็เป็นผู้สืบเชื้อสายมาจากศาสดาอิสฮาก จนถึงศาสดาอิบรอฮีม และศาสดาของ [[อิสลาม]] ก็เป็นผู้ที่สืบเชื้อสายมาจากศาสดาอิสมาอีล บุตรชายอีกคนหนึ่งของอิบรอฮีม | |||
อัลกุรอาน ได้กล่าวว่า | อัลกุรอาน ได้กล่าวว่า อิบรอฮีมเป็นผู้สร้างวิหาร [[กะอ์บะฮ์|อัลกะอ์บะฮ์]] และเขายังเชิญชวนประชาชนให้ประกอบพิธีฮัจญ์ อิบรอฮีม ถูกเรียกว่า เคาะลีลุลลอฮ์ (มิตรของพระเจ้า) | ||
ตามโองการอัลกุรอาน ระบุว่า หลังจากที่อิบรอฮีมได้ผ่านการทดสอบอันยิ่งใหญ่ด้วยการเชือดบุตรชายของเขาตามพระบัญชาของพระเจ้า เขาก็ได้รับตำแหน่งอิมามะฮ์ หลังจากที่ก่อนหน้านี้ เขานั้นเป็นศาสนทูตของพระองค์ | ตามโองการอัลกุรอาน ระบุว่า หลังจากที่อิบรอฮีมได้ผ่านการทดสอบอันยิ่งใหญ่ด้วยการเชือดบุตรชายของเขาตามพระบัญชาของพระเจ้า เขาก็ได้รับตำแหน่งอิมามะฮ์ หลังจากที่ก่อนหน้านี้ เขานั้นเป็นศาสนทูตของพระองค์ |